บันทึกอนุทิน
วิชา
การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันศุกร์ ที่ 12 กรกฎาคพ.ศ. 2556
ครั้งที่ 5 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าเรียน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.
วันนี้มีเพื่อนกลุ่มสุดท้ายมารายงานเกี่ยวกับ
เรื่อง พัฒนาการทางสติปัญญา
พัฒนาการ (Development) หมายถึง
การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างของร่างกายและแบบแผนของร่างกายทุกส่วน
การเปลี่ยนแปลงนี้จะก้าวหน้าไปเรื่อยๆเป็นขั้นตอน จากระยะหนึ่งไปอีกระยะหนึ่ง ทำให้เด็กมีลักษณะและความสามารถใหม่ๆ
เกิดขึ้น ซึ่งมีผลทำให้เจริญก้าวหน้าตามลำดับทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์
สังคมและสติปัญญา
ลำดับขั้น 1. Sensorimotor phase 0-2 ปี
2.
Concepual thought phase
องค์ประกอบของสติปัญญา
1. ความฉลาดด้านภาษา (Linguistic intelligence) คือความสามารถด้านภาษา
2. ความฉลาดด้านการคำนวณ (Logical – Mathematical Intelligence) คือความสามารถในการใช้เหตุผล การคำนวณ
2. ความฉลาดด้านการคำนวณ (Logical – Mathematical Intelligence) คือความสามารถในการใช้เหตุผล การคำนวณ
3. ความฉลาดด้านมิติสัมพันธ์
(Spatial
Intelligence) คือความสามารถในการสร้างภาพในสมอง
4. ความฉลาดด้านกายภาพหรือร่างกาย (Bodily – kinesthetic Intelligence) คือความสามารถในการใช้ สรีระ ร่างกาย
4. ความฉลาดด้านกายภาพหรือร่างกาย (Bodily – kinesthetic Intelligence) คือความสามารถในการใช้ สรีระ ร่างกาย
5. ความฉลาดด้านดนตรี (Musical Intelligence) คือความสามารถในด้านคนตรี
6. ความฉลาดด้านทักษะสังคม (Interpersonal Intelligence) คือ ความสามารถในด้านการเข้าสังคม
7. ความฉลาดด้านบุคคล (Intrapersonal Intelligence) คือความสามารถของบุคคลในการเข้าใจตนเอง
8. ความฉลาดด้านธรรมชาติ
(Naturalist
Intelligence) คือความสามารถในการมองเห็นความงาม
โครงสร้าง
1.การรับรู้
2.การจำ
2.การจำ
3.การเกิดความคิดเห็น
อาจารย์ให้วาดภาพที่ชอบและรักในสมัยเด็ก
และให้บอกว่าได้มาอย่างไร
ความรู้สึก : ภาพนี้เป็นภาพคุณยายของฉันได้มายังไงไม่รู้
รู้แต่ว่าเมื่อจำความได้หลังจากที่ได้ลืมตามาดูโลก คุณยายก็เป็นคนที่ คอยเลี้ยงดูฉันมาโดยตลอด
จึงทำให้ดิฉันนั้นรักคุณยายเป็นอย่างมาก และตอนนี้ท่านก็ได้เสียไปแล้ว
ไปอยู้บนสวรรค์ที่มีภพภมูิดีกว่านี้
องค์ประกอบของภาษา
1.เสียง : ระบบเสียงของภาษา
1.เสียง : ระบบเสียงของภาษา
: สิ่งที่เปล่งออกมาแล้วมีความหมาย
: หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำในภาษา
2.ความหมายของภาษาและคำศัพท์ : คำบางคำสามารถมีได้หลายความหมาย
: ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำต่างกัน
: ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำต่างกัน
3.ไวยกรณ์ : การเรียงคำในประโยค
4. ระบบการนำไปใช้ : ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์ และกาลเทศะ
แนวคิดและการศึกษา
แนวคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยม
Skiner
John B Watson
แนวคิดของกลุ่มพัฒนาการทางสติปัญญา
Piaget
Vygotsky
แนวคิดกลุ่มเชื่อเรื่องความพร้องทางด้านร่างกาย
Gesell
Noam Chomsky
Hobart Mowrer
แนวคิดการจัดประสบการณ์
1.สิ่งสะท้อนและปรัชญาของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
2.นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้แตกต่างกัน
Richard and Rodger มุมมอง3
กลุ่ม
1.ด้านโครงสร้างของภาษา
2.ด้านหน้าที่ของภาษา3.ด้านปฏิสัมพันธ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น